บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2020

งานที่5 ระบบควบคุณภาพในองค์กร เลขที่19

รูปภาพ
การควบคุมภายใน      คณะกรรมการบริษัท มีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทย่อย มีความเพียงพอ เหมาะสม และสามารถป้องกันทรัพย์สิน ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอันเกิดจากการที่ผู้บริหารนำไปใช้โดยมิชอบ และที่ผ่านมาบริษัทฯ ไม่มีข้อบกพร่องเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในโดยระบบ การควบคุมภายในของบริษัทฯ สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี   1. องค์กรและสภาพแวดล้อม บริษัทฯ มีการกำหนดเป้าหมายการดำเนินธุรกิจที่ชัดเจน และวัดผลได้และได้ทบทวนเป้าหมายการปฏิบัติงาน และพิจารณาถึงความ เป็นไปได้ของเป้าหมายที่กำหนด ตลอดจนวิเคราะห์ถึงการให้สิ่งจูงใจหรือผลตอบแทนแก่พนักงานว่าเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล บริษัทฯ มีการจัดทำนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานเป็นลายลักษณ์อักษรในธุรกรรมด้านต่าง ๆ ที่รัดกุม และสามารถป้องกันการทุจริตได้    2. การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีการประเมินปัจจัยความเสี่ยงที่สำคัญ เช่น ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ยงจากการพึ่งพิงกลุ่มลูกค้าหลัก ความ เสี่ยงจากความเพียงพอของเงินทุนหมุนเวียน เป็นต้น และกำหนดให้มีมาตรการในการติดตามเหตุการณ์ที่เป็น...

งานที่4 วิถีจัดการความขัดแย้งในการทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงาน

รูปภาพ
วิถีจัดการความขัดแย้งในการทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงาน 1. พิจารณาตนเอง เมื่อพูดถึง ความขัดแย้งในที่ทำงาน บางคนเมื่อมีปัญหากับเพื่อนร่วมงาน มักกล่าวว่าเป็นเพราะอคติที่เพื่อนร่วมงานมีต่อตน โดยลืมพิจารณาไปว่าตัวเองมีข้อบกพร่องหรือไม่ บางคนอาจพูดจาขวานผ่าซากจนเพื่อนร่วมงานขยาด ไม่อยากเข้าใกล้  ในขณะที่บางคนอาจเอาความคิดของตัวเองเป็นใหญ่ สร้างความลำบากใจให้เพื่อนร่วมงาน ดังนั้นเมื่อเกิดปัญหาขึ้น สิ่งแรกที่เราพึงกระทำคือการหันมาพิจารณาตนเองว่ามีข้อเสียอย่างไรบ้าง แล้วเริ่มต้นปรับที่ตัวเองก่อน เพราะวิธีนี้จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติของเพื่อนร่วมงานได้ในที่สุด 2. มองข้ามไปเสียบ้าง คนบางคนเก็บเอาคำพูด และการกระทำของเพื่อนร่วมงานไปตีความ จนคิดเลยเถิดไปว่าเขาไม่ชอบเรา ทั้งที่ในความเป็นจริงแล้ว กิริยาท่าทางเช่นนั้น อาจเป็นนิสัยส่วนตัวที่ไม่ได้มีนัยแอบแฝง ดังนั้น จึงควรรู้จักมองข้ามเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ไปเสียบ้าง แล้วหันไปทุ่มเทเวลาให้กับการสร้างสรรผลงาน และพัฒนาองค์กรจะดีกว่า 3. ร้ายมา ต้อง(ไม่)ร้ายตอบ บางครั้งความเกลียดชังและ ความขัดแย้งในที่ทำงาน อาจเกิดขึ้นเพราะเพื่อนร่วมงานยัง...

งานที่3 กิจกรรมควบคุมความเสี่ยงในองค์กร

รูปภาพ
การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง     คณะกรรมการบริษัทฯ มีความเห็นว่า ระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ และบริษัทย่อย มีความเพียงพอ เหมาะสม และสามารถป้องกันทรัพย์สินของบริษัทฯ และบริษัทย่อยอันเกิดจากการที6ผู้บริหารนําไปใช้โดยมิชอบ และที6ผ่านมาบริษัทฯ ไม่มีข้อบกพร่องเกี6ยวกับระบบการควบคุมภายใน โดยระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้    1. องค์กรและสภาพแวดล้อม บริษัทฯ มีการกําหนดเป้ าหมายการดําเนินธุรกิจที6ชัดเจน และวัดผลได้ และได้ทบทวนเป้ าหมายการปฏิบัติงาน และพิจารณาถึงความเป็นไปได้ของเป้าหมายที6กําหนด ตลอดจนวิเคราะห์ถึงการให้สิ่งจูงใจหรือผลตอบแทน แก่พนักงานว่าเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล บริษัทฯ มีการจัดทํานโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติงานเป็ นลาย ลักษณ์อักษรในธุรกรรมด้านต่าง ๆ ที่รัดกุม และสามารถป้องกันการทุจริตได้  2. การบริหารความเสี่ยง บริษัทฯ มีการประเมินปัจจัยความเสี่ยงที่สําคัญ เช่น ความเสี6ยงจากอัตราแลกเปลี6ยน ความเสี่ยงจากการ พึ่งพิงกลุ่มลูกค้าหลัก ความเสี่ยงจากความเพียงพอของเงินทุนหมุนเวียน เป็ นต้น และกําหนดให้มีมาตรการใน ...

งานที่ 2 กิจกรรมที่เพิ่มประสิทธิภาพในองค์กร

รูปภาพ
7s กิจกรรม 5ส        กิจกรรม 5ส เป็นกระบวนการหนึ่งที่เป็นระบบมีแนวปฏิบัติ ที่เหมาะสมสามารถนำมาใช้เพื่อปรับปรุงแก้ไขงานและรักษาสิ่งแวดล้อมในสถานที่ทำงานให้ดีขึ้น ทั้งในส่วนงานด้านการผลิตและด้านการบริการ ซึ่งนำมาใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานขององค์กร ได้อีกทางหนึ่ง        สะสาง Seiri (เซริ)  (ทำให้เป็นระเบียบ) คือ การแยกระหว่างของที่จำเป็นต้องใช้กับของ ที่ไม่จำเป็นต้องใช้ขจัดของที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทิ้งไป         สะดวก Seiton (เซตง)  = สะดวก (วางของในที่ที่ควรอยู่) คือ การจัดวางของที่จำเป็นต้องใช้ ให้เป็นระเบียบสามารถหยิบใช้งานได้ทันที         สะอาด Seiso (เซโซ)  = สะอาด (ทำความสะอาด) คือการปัดกวาดเช็ดถูสถานที่ สิ่งของ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องจักร ให้สะอาดอยู่เสมอ         สุขลักษณะ Seiketsu (เซเคทซึ)  = สุขลักษณะ (รักษาความสะอาด) คือ การรักษา และปฏิบัติ 3ส ได้แก่ สะสาง สะดวก และสะอาดให้ดีตลอดไป         สร้างนิสัย...

งานที่ 1 โครงสร้างองการในสถานที่ฝึกงาน

รูปภาพ
โครงสร้างองค์การในสถานที่ฝึกงานเป็นการจัดโครงสร้างแบบ โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน  โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน  (Functional OrganizationStructure)  หมายถึง โครงสร้างที่จัดตั้งขึ้นโดยแบ่งไปตามประเภทหรือหน้าที่การงาน เพื่อแสดงให้เห็นว่าในแต่ละแผนกนั้นมีหน้าที่ต้องกระทำอะไรบ้าง ซึ่งผลดีก่อให้เกิดการได้คนมีความสามารถทำงานในแผนกนั้น ๆ ทั้งยังฝึกบุคคลในแผนกนั้น ๆ ให้มีความเชี่ยวชาญกับหน้าที่ของงานนั้นอย่างลึกซึ้ง สำหรับฝ่ายบริหารระดับสูงนั้นก็เป็นเพียงแต่กำหนดนโยบายไว้กว้าง ๆ เพราะมีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านคอยป้อนข้อมูลที่ถูกต้องให้พิจารณาตัดสินใจและให้มีความผิดพลาดได้น้อยมาก อีกประการหนึ่งในแต่ละแผนกนั้น เมื่อทุกคนมีความเชี่ยวชาญงานในหน้าที่ชนิดเดียวกัน ย่อมก่อให้เกิดการประสานงานได้ง่ายเนื่องจากแต่ละคนมีความสนใจในงานและใช้ภาษาเดียวกัน ทำให้สามารถสร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีได้ง่ายนอกจากนั้น การบริหารงานก็เกิดความประหยัดด้วย เพราะแต่ละแผนกได้ใช้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านสร้างผลิตผลได้เต็มเม็ดเต็มหน่วย การใช้เครื่องจักรและแรงงานก็...